ด้านเพื่อสังคม-รูปแบบ Activity/Lecture |
|
SDG17: เสริมความเข้มแข็ง |
|
ชื่อกิจกรรม/โครงการ: |
โครงการการการศึกษาวิจัยเพื่อออกแบบและพัฒนาระบบโลจิสติกส์โครงสร้างพื้น ฐานและระบบบูรณาการข้อมูลสารสนเทศและแนวทางการริเริ่ม Big Data ด้านสาธารณสุขสำหรับเศรษฐกิจดิจิทัลประเทศไทย ระยะที่ 3 |
ที่มาและความสำคัญ: |
- |
ช่วงเวลาที่จัดกิจกรรม/โครงการ: |
- |
สถานที่จัดกิจกรรม/โครงการ: |
- |
หน่วยงานทีเกี่ยวข้อง/ผู้มีส่วนได้เสีย: |
โรงพยาบาล/สถานบริการสุขภาพ /ประชาชน /บุคลากรทางการแพทย์/ผู้ประกอบการด้านเวชภัณฑ์ |
วัตถุประสงค์: |
เพื่อแก้ปัญหาการขาดแคลนเวชภัณฑ์และการบริหารสินค้าคงคลังที่ขาดสมดุล ทำให้สามารถบริหารการจัดซื้อ-รับ-กระจายเวชภัณฑ์ และโลจิสติกส์ขนส่งอย่างครบวงจร ครอบคลุมทั้งการบริจาคอัจฉริยะ (Smart Donation) และระบบจัดซื้อกลาง |
รูปแบบกาดำเนินกิจกรรม/โครงการ: |
- |
กลุ่มเป้าหมาย/กลุ่มผู้ร่วมกิจกรรม:ประเทศ(ระบุ) ประชาชนทั่วไป ประชาคมมหิดล |
โรงพยาบาลทั่วประเทศกว่า 2,641 แห่ง |
จำนวนผู้เข้าร่วมกิจกรรม: จำนวนประเทศ(โปรดระบุชื่อ) / จำนวนคนตามกลุ่มเป้าหมาย (ถ้ามี) |
- |
ผลลัพธ์ที่นำไปใช้ประโยชน์จากกิจกรรม:เช่น การพัฒนาด้านอาชีพ เพื่อให้ผู้เข้าร่วมมีรายได้เพิ่มขึ้น ได้ความรู้ ถ่ายทอดความรู้ให้ผู้อื่นได้ข้อเสนอแนะในการพัฒนานโยบาย/ยุทธศาสตร์/แผน เป็นต้น |
แพลตฟอร์ม “ระบบจัดการเวชภัณฑ์ประเทศไทย 2020” (Smart Medical Supply Platform 2020) เป็นระบบกลางของประเทศเป็นครั้งแรก ถูกนำไปใช้ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 สำหรับโรงพยาบาลทั่วประเทศกว่า 2,641 แห่ง |
Web link เอกสารแนบ/รายงานข้อมูลเพิ่มเติม/เพื่ออ้างอิงผลลัพธ์หรือการดำเนินงาน:เช่น Web link กิจกรรมภาคสนามที่มีหลักการรายละเอียดกิจกรรมภาคสนามในแต่ละปี(จำนวนคน พื้นที่ ผลลัพธ์) หรือ Web link ต้นทางรวมการจัดกิจกรรมในแต่ละปี
|
1.เฟสบุ๊ควิศวะเพื่อสังคม |
รูปภาพประกอบ: |
|
SDG goal ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ |
- |
Faculty of Engineering, Mahidol University. (Mahidol, Engineering.)
25/25 Phuttamonthon 4 Road, Salaya, Phuttamonthon, Nakhon Pathom 73170 Thailand
Tel: +66 2889 2138
Fax: +66 2441 9731
Email: engineering@mahidol.ac.th