ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
คลิกเพื่อดาวน์โหลด มคอ.2
คลิกเพื่อดาวน์โหลด แผ่นพับประชาสัมพันธ์หลักสูตรปริญญาโท
โครงสร้างหลักสูตรจัดการศึกษาตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๔๘ หลักสูตรปริญญาโท แผน ก แบบ ก(๒) และแผน ข ดังนี้
หมวด | จํานวนหน่วยกิต | |
แผนก | แบบก(2) | แผน ข |
(1) หมวดวิชาปรับพื้นฐาน | ไม่นับหน่วยกิต | ไม่นับหน่วยกิต |
(2) หมวดวิชาบังคับ | 21 | 21 |
(3) หมวดวิชาเลือก | ไม่น้อยกว่า 6 | 12 |
(4) วิทยานิพนธ์ | 12 | – |
(5) สารนิพนธ์ | – | 6 |
รวมไม่น้อยกว่า | 39 | 39 |
ปี 1 ภาคต้น
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | ||
วศคพ ๖๑๑ | เทคนิคการเขียนโปรแกรมเพื่อ การประยุกต์ขั้นสูง |
๓ (๓-๐-๖) |
วศคพ ๖๒๒ | การทาเหมืองข้อมูล | ๓ (๓-๐-๖) |
วศคพ ๖๔๓ | กฎหมายกับกระบวนการยุติธรรมทางวิชาชีพวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
วศคพ ๖๗๖ | ความมั่นคงของเครือข่ายและ การประเมินความเสี่ยง |
๓ (๓-๐-๖) |
รวม | ๑๒ หน่วยกิต |
ปี 1 ภาคปลาย
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | ||
วศคพ ๖๐๓ | วิทยาระเบียบวิธีวิจัย และสัมมนา |
๒(๒-๐-๔) |
วศคพ ๖๔๔ | กระบวนการสืบสวนทาง นิติวิทยา |
๓ (๓-๐-๖) |
วศคพ ๖๖๑ | คระบบอัจฉริยะ | ๓ (๓-๐-๖) |
รวม | ๙ หน่วยกิต | |
ปี 2 ภาคต้น
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | ||
วิชาเลือก | ๖ หน่วยกิต | |
วศคพ ๖๙๘ | วิทยานิพนธ์ | ๓ (๐-๙-๐) |
รวม | ๙ หน่วยกิต |
ปี 2 ภาคปลาย
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | ||
วศคพ ๖๙๘ | วิทยานิพนธ์ | ๙ (๐-๒๗-๐) |
รวม | ๙ หน่วยกิต |
ปี 1 ภาคต้น
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | ||
วศคพ ๖๑๑ | เทคนิคการเขียนโปรแกรมเพื่อ การประยุกต์ขั้นสูง |
๓ (๓-๐-๖) |
วศคพ ๖๒๒ | การทาเหมืองข้อมูล | ๓ (๓-๐-๖) |
วศคพ ๖๔๓ | กฎหมายกับกระบวนการยุติธรรมทางวิชาชีพวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
วศคพ ๖๗๖ | ความมั่นคงของเครือข่ายและ การประเมินความเสี่ยง |
๓ (๓-๐-๖) |
รวม | ๑๒ หน่วยกิต |
ปี 1 ภาคปลาย
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | ||
วศคพ ๖๐๒ | วิทยาระเบียบวิธีวิจัย และสัมมนา |
๒(๒-๐-๔) |
วศคพ ๖๔๔ | กระบวนการสืบสวนทาง นิติวิทยา |
๓ (๓-๐-๖) |
วศคพ ๖๖๑ | ระบบอัจฉริยะ | ๓ (๓-๐-๖) |
รวม | ๑๒ หน่วยกิต | |
ปี 2 ภาคต้น
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | ||
วิชาเลือก | ๑๒ หน่วยกิต | |
รวม | ๑๒ หน่วยกิต |
ปี 2 ภาคปลาย
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้า) | ||
วศคพ ๖๙๗ | สารนิพนธ์ | ๖ (๐-๑๘-๐) |
รวม | ๙ หน่วยกิต | |
(๑) หมวดวิชาปรับพื้นฐาน
หน่วยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาด้วยตนเอง)
วศคพ ๕๒๒ สถาปัตยกรรมโปรแกรมประยุกต์บนเว็บและระบบฐานข้อมูล ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 522 Web Application Architecture and Database System
แบบจาลองข้อมูลแบบเอนทิตี-ความสัมพันธ์และแบบจาลองข้อมูลเชิงสัมพันธ์แบบจาลองข้อมูลกึ่งโครงสร้างบนเว็บ เอ็กซ์เอ็มแอล ภาษาในการสอบถามข้อมูล ภาษาสอบถาม ที่เกี่ยวข้องและระบบสอบถามสาหรับข้อมูลเว็บ การส่งจากเครื่องบริการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์และ เชิงอ็อบเจกต์ไปเป็นข้อมูลเว็บ สถาปัตยกรรมโปรแกรมประยุกต์เว็บ
วศคพ ๕๗๑ หลักการการสื่อสารและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 571 Principle of Communications and Computer Networks
หลักการและทฤษฎีของการสื่อสาร แบบจาลองโอเอสไอและทีซีพี/ไอพี พื้นฐานของอีเทอร์เน็ต หลักการของลาดับชั้นกายภาพ หลักการของการส่งข้อมูลและเกณฑ์วิธีการควบคุมระบบเชื่อมโยงข้อมูล การสลับวงจรและการสลับกลุ่มข้อมูล หลักการของลาดับชั้นเครือข่าย หลักการของลาดับชั้นทรานสปอร์ต พื้นฐานและเกณฑ์วิธีของการจัดเส้นทาง เกณฑ์วิธีของทีซีพี/ไอพีและการกาหนดเลขที่อยู่ไอพี ลาดับชั้นโปรแกรมประยุกต์และเครือข่ายไร้สาย
(๒) หมวดวิชาบังคับ
วศคพ ๖๐๓ วิทยาระเบียบวิธีวิจัยและสัมมนา ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 603 Research Methodology and Seminar
การอภิปรายหัวข้อทางความมั่นคงและนิติวิทยาดิจิทัล และระบบสารสนเทศและ การประยุกต์เชิงอุตสาหกรรม เทคนิคและกระบวนการสาหรับการวิจัยทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ จริยธรรมในการวิจัย การสืบค้นบทความจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ การทบทวนและการวิเคราะห์วรรณกรรม เทคนิค การเขียนเชิงวิชาการ สถิติและเครื่องมือวิเคราะห์ข้อมูล การทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ การทดสอบความความแตกต่างระหว่างกลุ่ม การเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารและที่ประชุมวิชาการ การสัมมนาและวิจารณ์อย่างสร้างสรรค์
วศคพ ๖๑๑ เทคนิคการเขียนโปรแกรมเพื่อการประยุกต์ขั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 611 Programming Techniques for Advanced Applications
การออกแบบและเขียนโปรแกรมด้วยภาษาไพธอน ชนิดข้อมูลเชิงนามธรรม โครงสร้างข้อมูลแบบซับซ้อน การเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ ขั้นตอนวิธีเพื่อแก้ปัญหา การดาเนินการและทดสอบโปรแกรมประยุกต์ขั้นสูงด้วยเครื่องมือที่เหมาะสม
วศคพ ๖๒๒ การทำเหมืองข้อมูล ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 622 Data Mining
แนวคิดการทาเหมืองข้อมูล คลังข้อมูล ข้อมูลและการเตรียมข้อมูล การวัดความคล้ายและความต่าง สถิติพื้นฐานในการทาเหมืองข้อมูล การค้นพบความรู้จากฐานข้อมูล การสร้างภาพนามธรรม การประมวลผลเชิงวิเคราะห์ออนไลน์และการวิเคราะห์ข้อมูลหลายมิติ หลักการจาแนกข้อมูลและขั้นตอนวิธีในการจาแนกข้อมูล กฎความเชื่อมโยง การประเมินประสิทธิภาพของตัวจาแนก วิธีการกลุ่มก้อน ปัญหาที่แต่ละกลุ่มมีขนาดไม่เท่ากัน ปัญหาหลายกลุ่ม การจัดกลุ่มข้อมูลแบบคลัสเตอร์ การประยุกต์วิธีการทาเหมืองข้อมูลกับงานประเภทต่างๆ
วศคพ ๖๔๓ กฎหมายกับกระบวนการยุติธรรมทางวิชาชีพวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 643 Law and Justice Procedures in Computer Engineering Professional
ความสาคัญของจริยธรรมในวิชาชีพ ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย กฎหมายอาญา ความรับผิดทางอาญา ฐานความผิดที่เกี่ยวข้องกับผู้ประกอบวิชาชีพด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทาความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ และกฎหมายเฉพาะ ที่เกี่ยวข้อง วิธีพิจารณาความอาญา นิติวิทยาทางคอมพิวเตอร์ การรับฟังพยานหลักฐาน กรณีศึกษา
วศคพ ๖๔๔ กระบวนการสืบสวนทางนิติวิทยา ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 644 Forensics Investigation and Procedures
กระบวนการสืบสวนทางนิติวิทยา แรงจูงใจ ประเภท วิธีการ และเทคนิคในการกระทาความผิด การวิเคราะห์การกระทาความผิดและสถานที่เกิดเหตุด้วยหลักจริยธรรม การเก็บรวบรวม การรักษาพยานหลักฐาน การวิเคราะห์การกระทาความผิดและที่เกิดเหตุ การรวบรวมและคงสภาพหลักฐาน การวิเคราะห์ข้อมูลและพฤติการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการกระทาความผิด กฎหมายอาชญากรรมที่เกี่ยวข้องกับคอมพิวเตอร์ จริยธรรมในการบริหารจัดการคดีและการนาเสนอพยานหลักฐานในชั้นศาล การสืบสวนคดีพิเศษ ปัญหาและอุปสรรคต่างๆ ในการดาเนินคดี
วศคพ ๖๖๑ ระบบอัจฉริยะ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 661 Intelligent Systems
ระบบอัจฉริยะ แบบจาลองของเซลล์ประสาท สถาปัตยกรรมเครือข่ายประสาท กระบวนการเรียนรู้ มัลติเลเยอร์เพอร์เซ็บตรอน เครือข่ายเรเดียลเบซิสฟังก์ชัน เครือข่ายโคโฮเน็น ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรมอย่างง่าย ตัวดาเนินการเชิงพันธุกรรม การหาค่าเหมาะสมที่สุดแบบหลายจุดประสงค์ โดยใช้ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม เซตฟัซซีและระบบฟัซซี แบบจาลองฟัซซีแมมดานิ แบบจาลอง ฟัซซีทาคากิ-ซูกีโน รัฟเซต เซตสีเทา อัจฉริยะเชิงกลุ่ม การจาลองอบเหนียว การประยุกต์ระบบอัจฉริยะสาหรับปัญหาด้านวิศวกรรมคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ
วศคพ ๖๗๖ ความมั่นคงของเครือข่ายและการประเมินความเสี่ยง ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 676 Network Security and Risk Assessment
ทฤษฎีความมั่นคงของเครือข่าย ไฟร์วอลล์ ระบบตรวจสอบและป้องกันการบุกรุก ภัยคุกคาม การพิสูจน์ตัวตน การควบคุมการเข้าถึง การจัดการความมั่นคงของเครือข่าย การวิเคราะห์และการตรวจสอบช่องโหว่ การจัดการความเสี่ยงด้วยหลักจริยธรรม ขั้นตอนและกระบวนการประเมินหาความเสี่ยงที่อาจจะทาให้เกิดความเสียหายต่อข้อมูลและระบบคอมพิวเตอร์ การวางแผนกู้ภัยพิบัติและความต่อเนื่องของธุรกิจ
(๓) หมวดวิชาเลือก
๓.๑) กลุ่มวิชาความมั่นคงและนิติวิทยาดิจิทัล (Security and Digital Forensics)
วศคพ ๖๒๗ การทดสอบเจาะโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 627 Web Application Penetration Testing
การเจาะโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ ระเบียบวิธีการเจาะ การสอดแนม การตรวจสอบ และการทาแผนที่ระบบ การค้นพบจุดอ่อน การเขียนโปรแกรมสาหรับเว็บ การใช้ประโยชน์จากจุดอ่อน การยิงคาสั่งภาษาสอบถาม การเขียนสคริปต์ให้ทางานข้ามเว็บไซต์ การโจมตีบริการบนเว็บ จริยธรรมในการทดสอบเจาะโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ
วศคพ ๖๕๓ เทคนิคและเครื่องมือนิติวิทยาเครือข่าย ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 653 Network Forensics Techniques and Tools
เทคนิคและเครื่องมือทางนิติวิทยาเครือข่ายขั้นสูง กระบวนการสืบสวนทางนิติวิทยา การวิเคราะห์ปริมาณการใช้งานเครือข่าย การติดตามการส่งไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การบูรณะกิจกรรมการค้นดูเว็บ การสอดแนมเครือข่าย นิติวิทยาเกี่ยวกับอุปกรณ์จัดเส้นทางและอุปกรณ์สลับเส้นทาง การวิเคราะห์การโจมตีที่ดาเนินอยู่ การวิเคราะห์ลักษณะบ่งชี้ของการโจมตี และการวิเคราะห์บันทึกของเครื่องแม่ข่าย
วศคพ ๖๕๔ นิติวิทยาระบบปฏิบัติการและระบบแฟ้มข้อมูล ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 654 Operating System and File System Forensics
ทฤษฎีนิติวิทยาของระบบปฏิบัติการและระบบแฟ้มข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลและ การวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากระบบปฏิบัติการ ระบบแฟ้มข้อมูลของคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์และตรวจสอบความถูกต้องของแฟ้มข้อมูลระบบ เครื่องมือทางด้านนิติวิทยาคอมพิวเตอร์สาหรับ การรวบรวมและการวิเคราะห์หลักฐานดิจิทัล
วศคพ ๖๕๕ การจัดการ การกู้คืน และการตรวจสอบหลักฐานดิจิทัล ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 655 Digital Evidence Handling, Recovery, and Examination
แนะนำหลักฐานที่ใช้ในการสืบสวนทางคอมพิวเตอร์และอาชญากรรมคอมพิวเตอร์ การเตรียมการและการตรวจจับข้อมูลที่เกิดขึ้นด้วยเครื่องมือต่างๆ ขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลจากที่เกิดเหตุ ลูกโซ่การเก็บรักษา เทคนิคการวิเคราะห์ข้อมูล การจัดเก็บข้อมูลและการรักษาความมั่นคง เครื่องมือที่ใช้สาหรับการกู้หลักฐานและการตรวจสอบ การเขียนรายงานเพื่อใช้ในการดาเนินคดี จริยธรรมและจรรยาบรรณในการดาเนินการกับหลักฐานดิจิทัล
วศคพ ๖๕๖ นิติวิทยาอุปกรณ์เคลื่อนที่ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 656 Mobile Device Forensics
หลักการเกี่ยวกับนิติวิทยาอุปกรณ์เคลื่อนที่ องค์ประกอบและการระบุชนิดของอุปกรณ์เคลื่อนที่ การได้มาของข้อมูลจากอุปกรณ์เคลื่อนที่ การได้มาทางตรรกะและทางกายภาพ การวิเคราะห์ข้อมูล การตรวจสอบข้อมูลจากอุปกรณ์เคลื่อนที่
วศคพ ๖๕๗ วิศวกรรมย้อนรอยและการวิเคราะห์มัลแวร์ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 657 Reverse Engineering and Malware Analysis
ทฤษฎีและเทคนิคของวิศวกรรมย้อนรอย การจาแนกมัลแวร์ กลไกการติดและเป้าหมาย กลไกการแพร่กระจายของมัลแวร์ เทคนิคที่มัลแวร์ใช้หลบเลี่ยงการตรวจจับ การสร้างระบบสาหรับวิเคราะห์มัลแวร์ เครื่องมือสาหรับวิเคราะห์มัลแวร์และกระบวนการวิเคราะห์มัลแวร์ จริยธรรมและจรรยาบรรณในการทาวิศวกรรมย้อนรอยและการวิเคราะห์มัลแวร์
วศคพ ๖๗๑ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 671 Advanced Computer Networks
หลักการและทฤษฎีของเทคโนโลยี และสถาปัตยกรรมขั้นสูงของเครือข่ายคอมพิวเตอร์ โพรโทคอลอินเทอร์เน็ต การควบคุมการติดขัด การจัดการการจราจรเครือข่าย คุณภาพของบริการ การจัดเส้นทางในเครือข่ายสลับเส้นทางขั้นสูง ความมั่นคงบนเครือข่าย เทคโนโลยีขั้นสูงสาหรับเครือข่ายไร้สาย
วศคพ ๖๗๕ การทดสอบเจาะระบบและการป้องกัน ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 675 System Penetration Testing and Prevention
กรรมวิธีการทดสอบเจาะระบบ การรวบรวมและการวิเคราะห์ภาวะเสี่ยงในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครื่องมือสาหรับการทดสอบเจาะระบบ จริยธรรมในการทดสอบเจาะระบบ การสรุปและรายงานผลจากการทดสอบเจาะระบบ การวางแผนและการออกแบบระบบเพื่อป้องกันเครือข่ายคอมพิวเตอร์จากภาวะเสี่ยง
วศคพ ๖๗๗ นิติวิทยาดิจิทัลและการตอบสนองต่อเหตุการณ์ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 677 Digital Forensics and Incident Responses
แนะนาทฤษฎีของกระบวนการกู้และตรวจสอบข้อมูลทางนิติวิทยาดิจิทัล ขั้นตอนและกระบวนการตอบสนองต่อเหตุการณ์ การเก็บรวบรวมหลักฐานดิจิทัลในที่เกิดเหตุ การรวบรวมและวิเคราะห์หลักฐานดิจิทัลจากระบบปฏิบัติการ วินโดวส์ ยูนิกซ์ และจากเครือข่ายคอมพิวเตอร์ เครื่องมือสาหรับการกู้และการตรวจสอบทางนิติวิทยา
วศคพ ๖๗๘ การประมวลผลข้อมูลปริมาณมาก ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 678 Big Data Processing
ทฤษฎีและเทคนิควิธีการจัดการข้อมูลปริมาณมาก การจัดเก็บข้อมูลปริมาณมาก ระบบแบบกระจายสาหรับการประมวลผลข้อมูลปริมาณมาก การทาเหมืองข้อมูลปริมาณมาก ขั้นตอนวิธีและการติดตั้งระบบแบบกระจาย การแสดงผลข้อมูลปริมาณมาก แนวโน้มและการประยุกต์ข้อมูลปริมาณมาก
วศคพ ๖๘๔ การประมวลผลภาพและการประยุกต์ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 684 Image Processing and Applications
การรับรู้ทางสายตา การแปลงเป็นเชิงเลขและการเข้ารหัสภาพ การแปลงภาพเป็นรูปแบบไม่ต่อเนื่อง (เชิงเลข) การทาให้ภาพดีขึ้น การซ่อมแซมภาพ การปรับปรุงภาพที่เสื่อมจากการมีคอนทราสต่า ไม่ชัด หรือมีสัญญาณรบกวน การบีบอัดภาพ การบีบอัดข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลภาพ การแยกส่วนภาพ การมองเห็นของเครื่องแบบฐานสอง การกลายสภาพ ตัวกระทาการในย่านใกล้เคียง การติดป้าย ลายผิง การแยกพื้นที่ การสกัดคุณลักษณะ การจับคู่ภาพ การจับคู่ตัวแบบและระบบฐานความรู้วิทัศน์
วศคพ ๖๙๔ หัวข้อพิเศษทางความมั่นคงและนิติวิทยาดิจิทัล ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 694 Special Topics in Security and Digital Forensics
หัวข้อพิเศษทางความมั่นคงและนิติวิทยาดิจิทัล ที่มา ความสาคัญ โครงสร้างและแนวคิดหลัก เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง การประยุกต์
(๓.๒) กลุ่มวิชาระบบสารสนเทศและการประยุกต์เชิงอุตสาหกรรม (Information Systems and Industrial Applications)
วศคพ ๖๒๔ การคานวณเชิงบริการ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 624 Service-Oriented Computing
กรอบการคานวณเชิงบริการ (เอสโอซี) สถาปัตยกรรม หลักการและรูปแบบ การคานวณ เชิงบริการ การวิเคราะห์และออกแบบระบบคานวณเชิงบริการ การแลกเปลี่ยนข้อมูล การทางานร่วมกันได้ ความมั่นคงในการคานวณเชิงบริการ เอ็กซ์เอ็มแอล เว็บเซอร์วิสและเครื่องมือสาหรับเขียนโปรแกรม เว็บเซอร์วิส เทคโนโลยีปัจจุบันและแนวโน้มของการคานวณเชิงบริการ
วศคพ ๖๒๕ การจัดเก็บและการค้นคืนสารสนเทศ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 625 Information Storage and Retrieval
การจัดเก็บและการจัดการข้อมูล การแทนค่าข้อมูล การประมวลผลภาษาธรรมชาติ การสอบถามข้อมูลโดยใช้คาหลัก ความกากวม กลยุทธ์การค้นหาโดยใช้ดัชนีและพจนานุกรม ความน่าจะเป็นและการใช้ระบบอัจฉริยะในการสอบถามข้อมูล การป้อนกลับการตรงประเด็นและ การขยาย การสอบถาม การค้นคืนสื่อประสม
วศคพ ๖๓๒ ระบบฝังตัวและการประยุกต์ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 632 Embedded Systems and Applications
การออกแบบและต้นแบบผลิตภัณฑ์แบบฝังตัว (เช่น เครื่องช่วยงานส่วนบุคคล เครื่องปลายทางธุรกรรม คอมพิวเตอร์ควบคุมในอุตสาหกรรม) ตัวประมวลผล ชิพเซต ชนิดของบัส และอุปกรณ์รับเข้า ส่งออกสาหรับระบบฝังตัวประสิทธิภาพสูงและระบบเครือข่าย ระบบปฏิบัติการแบบ ฝังตัว โปรแกรมขับอุปกรณ์และการประยุกต์สาหรับระบบฝังตัว การปรับแต่งอุปกรณ์ที่สามารถโปรแกรมตรรกได้ ด้วยภาษาบรรยายฮาร์ดแวร์
วศคพ ๖๔๒ การจัดการโครงการซอฟต์แวร์และความเปลี่ยนแปลง ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 642 Software Project and Change Management
แนวคิดและจรรยาบรรณในการจัดการโครงการซอฟต์แวร์และการจัดการ ความเปลี่ยนแปลง การจัดหาทีมงาน การกาหนดขอบเขต การแบ่งงานและจัดตารางการทางาน การควบคุมคุณภาพและการประกันคุณภาพ การประมาณค่าใช้จ่าย การจัดการความเสี่ยง การทางานเป็นทีมและการจัดการทีมงาน เทคนิคการวางแผน การจัดระเบียบ และการจัดการโครงการพัฒนาระบบที่ซับซ้อน การจัดการความเปลี่ยนแปลงในโครงการที่เกิดจากการแก้ไขความต้องการของระบบ บทบาทในการจัดการความเปลี่ยนแปลง
วศคพ ๖๖๓ ระบบสนับสนุนการตัดสินใจ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 663 Decision Support System
ระบบสนับสนุนการตัดสินใจในการจัดการธุรกิจและอุตสาหกรรม การจัดเก็บข้อมูล การทาคลังข้อมูล การทาเหมืองข้อมูล การออกแบบระบบสนับสนุนการตัดสินใจแบบการตัดสินใจกลุ่ม การใช้องค์ความรู้ และการใช้เหตุผล ระบบอัจฉริยะเพื่อสนับสนุนการตัดสินใจ ระบบผู้เชี่ยวชาญ ปัญญาประดิษฐ์
วศคพ ๖๖๔ การเรียนรู้ของเครื่อง ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 664 Machine Learning
แนวคิดการเรียนรู้ของเครื่อง การเรียนรู้แบบอุปนัย การเรียนรู้ต้นไม้ตัดสินใจ เครือข่ายประสาทเทียม การประเมินสมมติฐาน การเรียนรู้แบบเบย์ ทฤษฎีการเรียนรู้เชิงคานวณ การเรียนรู้โดยตัวอย่าง การเรียนรู้เซตของกฎ การเรียนรู้เชิงวิเคราะห์ การรวมการเรียนรู้เชิงอุปนัยกับเชิงวิเคราะห์ การเรียนรู้เสริมความแกร่ง ขั้นตอนวิธีเชิงวิวัฒน์ การหาคาตอบที่เหมาะสมที่สุดด้วยวิธีกลุ่มอนุภาค
วศคพ ๖๗๘ การประมวลผลข้อมูลปริมาณมาก ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 678 Big Data Processing
ทฤษฎีและเทคนิควิธีการจัดการข้อมูลปริมาณมาก การจัดเก็บข้อมูลปริมาณมาก ระบบแบบกระจายสาหรับการประมวลผลข้อมูลปริมาณมาก การทาเหมืองข้อมูลปริมาณมาก ขั้นตอนวิธีและการติดตั้งระบบแบบกระจาย การแสดงผลข้อมูลปริมาณมาก แนวโน้มและการประยุกต์ข้อมูลปริมาณมาก
วศคพ ๖๘๒ ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์และสื่อประสม ๓ (๒-๒-๕)
EGCO 682 Human-Computer Interaction and Multimedia
ทฤษฎีปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์ พฤติกรรมมนุษย์ที่มีผลต่อ การประสานกับคอมพิวเตอร์ การออกแบบและพัฒนาส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ โดยใช้คอมพิวเตอร์กราฟิกและสื่อประสม การสร้างภาพใน ๒ มิติ และ ๓ มิติ การสร้างสภาพแวดล้อมเสมือน สื่อหลายมิติ การออกแบบและพัฒนาสื่อประสมบนเครือข่ายโลกโดยใช้เครื่องมือต่างๆ
วศคพ ๖๘๔ การประมวลผลภาพและการประยุกต์ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 684 Image Processing and Applications
การรับรู้ทางสายตา การแปลงเป็นเชิงเลขและการเข้ารหัสภาพ การแปลงภาพเป็นรูปแบบไม่ต่อเนื่อง (เชิงเลข) การทาให้ภาพดีขึ้น การซ่อมแซมภาพ การปรับปรุงภาพที่เสื่อมจากการมีคอนทราสต่า ไม่ชัด หรือมีสัญญาณรบกวน การบีบอัดภาพ การบีบอัดข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลภาพ การแยกส่วนภาพ การมองเห็นของเครื่องแบบฐานสอง การกลายสภาพ ตัวกระทาการในย่านใกล้เคียง การติดป้าย ลายผิง การแยกพื้นที่ การสกัดคุณลักษณะ การจับคู่ภาพ การจับคู่ตัวแบบและระบบฐานความรู้วิทัศน์
วศคพ ๖๙๕ หัวข้อพิเศษทางระบบสารสนเทศและการประยุกต์เชิงอุตสาหกรรม ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 695 Special Topics in Information Systems and Industrial Application
หัวข้อพิเศษทางระบบสารสนเทศและการประยุกต์เชิงอุตสาหกรรม ที่มา ความสาคัญ โครงสร้างและแนวคิดหลัก เทคโนโลยีที่เกี่ยวข้อง การประยุกต์
(๔) วิทยานิพนธ์
วศคพ ๖๙๘ วิทยานิพนธ์ ๑๒ (๐-๓๖-๐)
EGCO 698 Thesis
การกาหนดข้อเสนอการวิจัยทางความมั่นคงและนิติวิทยาดิจิทัล หรือระบบสารสนเทศ และการประยุกต์เชิงอุตสาหกรรม การดาเนินการวิจัยอย่างมีจริยธรรม การรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์และแปลผลงานวิจัย การเขียนวิทยานิพนธ์ การนาเสนอและการเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารหรือที่ประชุมวิชาการ จริยธรรมสาหรับการเขียนและการเผยแพร่รายงาน
(๕) สารนิพนธ์
วศคพ ๖๙๗ สารนิพนธ์ ๖ (๐-๑๘-๐)
EGCO 697 Thematic Paper
การกาหนดข้อเสนอโครงการทางความมั่นคงและนิติวิทยาดิจิทัล หรือระบบสารสนเทศและการประยุกต์เชิงอุตสาหกรรม การดาเนินโครงการอย่างมีจริยธรรม การเขียนและ การนาเสนอรายงานโครงการ จริยธรรมสาหรับการเขียนและการเผยแพร่รายงาน
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
25/25 ถนนพุทธมณฑล สาย 4 ศาลายา จ. นครปฐม 73170
ที่ตั้งภาควิชา : ตึก 3 ชั้น 2 ห้อง 6267
โทรศัพท์ (02) 889-2138 ต่อ 6251-2
โทรสาร (02) 889-2138 ต่อ 6259
จันทร์ – ศุกร์ 8.30 – 16.30
Department of Computer Engineering
Faculty of Engineering, Mahidol University
25/25 Phuttamonthon 4 Rd. Salaya Nakorn Pathom 73170
Location : No.3 Bldg, 2nd Fl, 6267 room
Tel. (662) 889-2138 ext. 6251-2
Fax. (662) 889-2138 ext. 6259
Mon – Fri 8:30A.M. – 4:30P.M.