ชื่อหลักสูตร
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
ปี 1 ภาคต้น
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
G | * มมศท ๑๐๑ | การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ | ๒ (๑-๒-๓) |
G | * มมศท ๑๐๒ | สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ | ๓ (๒-๒-๕) |
G | ** มมศท ๑๐๓ | ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ | ๒ (๑-๒-๓) |
G | *** ศศภอ ๑๐๓-๑๐๕ | ภาษาอังกฤษระดับ ๑-๓ | ๓ (๒-๒-๕) |
C | วทคณ ๑๑๕ | แคลคูลัส | ๓ (๓-๐-๖) |
C | วทฟส ๑๑๐ | ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ | ๑ (๐-๓-๑) |
C | วทฟส ๑๕๑ | ฟิสิกส์ทั่วไป ๑ | ๓ (๓-๐-๖) |
C | วศคพ ๑๑๑ | การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๒-๓-๕) |
R | วศคพ ๑๐๐ | แนะนำวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | ๑ (๐-๓-๑) |
รวม ๑๙ (๑๓-๑๕-๓๒) |
ปี 1 ภาคปลาย
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
G | * มมศท ๑๐๑ | การศึกษาทั่วไปเพื่อการพัฒนามนุษย์ | ๒ (๑-๒-๓) |
G | * มมศท ๑๐๒ | สังคมศึกษาเพื่อการพัฒนามนุษย์ | ๓ (๒-๒-๕) |
G | ** มมศท ๑๐๓ | ศิลปวิทยาการเพื่อการพัฒนามนุษย์ | ๒ (๑-๒-๓) |
G | *** ศศภอ ๑๐๔-๑๐๖ | ภาษาอังกฤษระดับ ๒-๔ | ๓ (๒-๒-๕) |
C | วทคม ๑๑๕ | เคมีทั่วไป | ๓ (๓-๐-๖) |
C | วทคม ๑๑๘ | ปฏิบัติการเคมี | ๑ (๐-๓-๑) |
C | วทคณ ๑๖๕ | สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ | ๓ (๓-๐-๖) |
C | วทฟส ๑๒๐ | ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๒ | ๑ (๐-๓-๑) |
C | วทฟส ๑๕๒ | ฟิสิกส์ทั่วไป ๒ | ๓ (๒-๓-๕) |
C | วศอก ๑๐๑ | ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน | ๒ (๑-๓-๓) |
R | วศคพ ๑๑๒ | เทคนิคการเขียนโปรแกรม | ๓ (๒-๒-๕) |
รวม ๒๑ (๑๕-๑๘-๓๕) |
ปี 2 ภาคต้น
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
G | * ศศภท ๑๐๐ | ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร | ๓ (๒-๒-๕) |
C | วศคก ๒๒๐ | กลศาสตร์วิศวกรรม | ๓ (๓-๐-๖) |
C | วศคพ ๒๐๐ | คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
C | วศคพ ๒๐๑ | วิยุตคณิต | ๓ (๓-๐-๖) |
C | วศฟฟ ๒๑๓ | การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้า | ๓ (๓-๐-๖) |
R | วศคพ ๒๐๒ | วิธีเชิงตัวเลขและการประยุกต์ | ๓ (๓-๐-๖) |
R | วศคพ ๒๑๓ | กระบวนทัศน์ในการเขียนโปรแกรม | ๓ (๓-๐-๖) |
รวม ๒๑ (๒๐-๒-๔๑) |
ปี 2 ภาคปลาย
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
G | วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ | ๒ (๒-๐-๔) | |
G | * ศศภท ๑๐๐ | ศิลปะการใช้ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร | ๓ (๒-๒-๕) |
G | วศฟฟ ๒๐๔ | สถิติความน่าจะเป็นและตัวแปรสุ่ม | ๓ (๓-๐-๖) |
G | วศฟฟ ๒๔๐ | อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม | ๓ (๓-๐-๖) |
G | วศฟฟ ๒๔๑ | ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม | ๑ (๐-๓-๑) |
R | วศคพ ๒๐๓ | วิธีการทางสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล | ๒ (๒-๐-๔) |
R | วศคพ ๒๒๑ | โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี | ๓ (๓-๐-๖) |
R | วศคพ ๒๓๑ | การออกแบบวงจรดิจิทัล | ๓ (๓-๐-๖) |
R | วศคพ ๒๓๒ | ปฏิบัติการการออกแบบวงจรดิจิทัล | ๑ (๐-๓-๑) |
R | วศคพ ๒๕๒ | การเขียนโปรแกรมระบบ | ๓ (๓-๐-๖) |
รวม ๒๑ (๑๙-๖-๔๐) |
ปี 3 ภาคต้น
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
G | * วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ | ๒ (๒-๐-๔) | |
G | วศคร ๓๐๐ | ปรัชญา จรรยาบรรณ และกฎหมายสำหรับวิศวกร | ๑ (๑-๐-๒) |
R | วศคพ ๓๒๑ | ระบบฐานข้อมูล | ๓ (๓-๐-๖) |
R | วศคพ ๓๓๓ | สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
R | วศคพ ๓๓๔ | ไมโครโปรเซสเซอร์และการต่อประสาน | ๓ (๓-๐-๖) |
R | วศคพ ๓๔๑ | วิศวกรรมซอฟต์แวร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
R | วศคพ ๓๗๑ | สัญญาณและระบบ | ๓ (๓-๐-๖) |
R | วศคพ ๓๗๒ | การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
รวม ๒๑ (๒๑-๐-๔๒) |
ปี 3 ภาคปลาย
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
G | วิชาเลือกหมวดศึกษาทั่วไป กลุ่มวิชาภาษา | ๒ (๒-๐-๔) | |
R | วศคพ ๓๓๒ | ระบบฝังตัว | ๓ (๓-๐-๖) |
R | วศคพ ๓๔๓ | การออกแบบซอฟต์แวร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
R | วศคพ ๓๕๑ | ระบบปฏิบัติการ | ๓ (๓-๐-๖) |
R | วศคพ ๓๙๒ | สัมมนาโครงงาน ๑ | ๑ (๐-๓-๑) |
E | วศคพ/วศฟฟ | วิชาเฉพาะเลือกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
E | วศคพ | วิชาเฉพาะเลือกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
รวม ๑๙ (๑๘-๓-๓๗) |
ปี 3 ภาคฤดูร้อน
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
T | วศคพ ๓๙๐ | การฝึกงานทางวิศวกรรม | ๑ (๐-๑๖-๑) |
รวม ๑ (๐-๑๖-๑) |
ปี 4 ภาคต้น สำหรับนักศึกษาปริญญาตรีทางวิชาการที่เลือกฝึกงาน
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
R | วศคพ ๔๙๐ | สัมมนาโครงงาน ๒ | ๑ (๐-๓-๑) |
E | วศคพ | วิชาเฉพาะเลือกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
E | วศคพ | วิชาเฉพาะเลือกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
F | วิชาเลือกเสรี | ๓ (๓-๐-๖) | |
รวม ๑๐ (๙-๓-๑๙) |
ปี 4 ภาคต้น สำหรับนักศึกษาปริญญาตรีทางวิชาการที่เลือกฝึกสหกิจศึกษา
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
R | วศคพ ๔๙๓ | สหกิจศึกษา | ๘ (๐-๔๐-๘) |
รวม ๘ (๐-๔๐-๘) |
ปี 4 ภาคต้น สำหรับนักศึกษาปริญญาตรีทางวิชาการแบบพิสิฐวิธาน
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
R | วศคพ ๔๙๐ | สัมมนาโครงงาน ๒ | ๑ (๐-๓-๑) |
E | วศคพ | วิชาเฉพาะเลือกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
E | วศคพ | วิชาเฉพาะเลือกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
F | วิชาเลือกเสรี | ๓ (๓-๐-๖) | |
E | วศคพ ๖xx | วิชาเฉพาะเลือกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
รวม ๑๓ (๑๒-๓-๒๕) |
ปี 4 ภาคปลาย
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
G | * วศอก ๓๓๕ | การวิเคราะห์ต้นทุนและงบประมาณ | ๓ (๓-๐-๖) |
R | * วศคพ ๔๙๕ | โครงงานรวบยอดความรู้ทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๐-๙-๓) |
ปี 4 ภาคปลาย สำหรับนักศึกษาปริญญาตรีทางวิชาการที่เลือกฝึกงาน
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
F | วิชาเลือกเสรี | ๓ (๓-๐-๖) | |
รวม ๙ (๖-๙-๑๕) |
ปี 4 ภาคปลาย สำหรับนักศึกษาปริญญาตรีทางวิชาการที่เลือกฝึกสหกิจศึกษา
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
F | วิชาเลือกเสรี | ๓ (๓-๐-๖) | |
F | วิชาเลือกเสรี | ๓ (๓-๐-๖) | |
รวม ๑๒ (๙-๙-๒๑) |
ปี 4 ภาคปลาย สำหรับนักศึกษาปริญญาตรีทางวิชาการแบบพิสิฐวิธาน
หมวดวิชา | รหัสวิชา | ชื่อวิชา | หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง) |
F | วิชาเลือกเสรี | ๓ (๓-๐-๖) | |
E | วศคพ ๖๐๒ | วิทยาระเบียบวิธีการวิจัย | ๒ (๒-๐-๔) |
E | วศคพ ๖xx | วิชาเฉพาะเลือกวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ | ๓ (๓-๐-๖) |
รวม ๑๔ (๑๑-๙-๒๕) |
กลุ่มวิชาแกน
วทคม ๑๑๕ เคมีทั่วไป ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุ พันธะเคมี แก๊ส ของแข็ง ของเหลวสารละลาย คอลลอยด์ อุณหพลศาสตร์เคมี จลนพลศาสตร์เคมี สมดุลเคมี สมดุลของไอออน ไฟฟ้าเคมี
วทคม ๑๑๘ ปฏิบัติการเคมี ๑ (๐-๓-๑)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
เทคนิคทั่วไปทางเคมี การทดลองเกี่ยวกับการวิเคราะห์คุณภาพและปริมาณและการทดลองที่สัมพันธ์กับบางหัวข้อในภาคบรรยาย
วทคณ ๑๑๕ แคลคูลัส ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
ลิมิต ภาวะต่อเนื่อง อนุพันธ์ของฟังก์ชันพีชคณิต ฟังก์ชันลอการิทึม ฟังก์ชันเลขชี้กำลัง ฟังก์ชันตรีโกณมิติ ฟังก์ชันตรีโกณมิติผกผันและฟังก์ชันไฮเพอร์โบลิก การประยุกต์อนุพันธ์ รูปแบบยังไม่กำหนด เทคนิคการหาปริพันธ์ ปริพันธ์ไม่ตรงแบบ การประยุกต์การหาปริพันธ์ การประเมินค่าอนุพันธ์และปริพันธ์เชิงตัวเลขแคลคูลัสของฟังก์ชันค่า จริงของสองตัวแปร พีชคณิตของเวกเตอร์ในปริภูมิสามมิติ แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าเวกเตอร์และการประยุกต์ เส้นตรง ระนาบและผิวในปริภูมิสามมิติ
วทคณ ๑๖๕ สมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ๓(๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
ตัวแปรเชิงซ้อน การแนะนำสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับหนึ่ง สมการเชิง อนุพันธ์ไม่เชิงเส้นอันดับหนึ่ง การประยุกต์สมการอันดับหนึ่ง สมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสอง การประยุกต์ สมการอันดับสองสมการเชิงอนุพันธ์เชิงเส้นอันดับสูง ระบบสมการเชิงเส้น เมทริกซ์ ดีเทอร์มิแนนต์ปริภูมิเวกเตอร์ การแปลงเชิงเส้น การแก้ปัญหาพีชคณิตเชิงเส้นโดยวิธีเชิงตัวเลข การประยุกต์ทางวิศวกรรมศาสตร์
วทฟส ๑๑๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๑ ๑(๐-๓-๑)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
การทดลองฟิสิกส์พื้นฐานที่เกี่ยวข้องกับหลักสูตรฟิสิกส์ที่นักศึกษาแต่ละคณะกำลังศึกษา
วทฟส ๑๒๐ ปฏิบัติการฟิสิกส์ ๒ ๑(๐-๓-๑)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
การทดลองระดับปานกลาง ออกแบบมาเพื่อควบคู่กับบางหัวข้อในฟิสิกส์ทั่วไป ๑ และ ๒ (วทฟส ๑๕๑ และ
วทฟส ๑๕๒)
วทฟส ๑๕๑ ฟิสิกส์ทั่วไป๑ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
กลศาสตร์ของระบบอนุภาค วัตถุแข็ง การหมุน การกลิ้ง และการหมุนส่าย การแกว่งกวัดอย่างง่าย การแกว่ง กวัดลดทอน การแกว่งกวัดขับดันและเรโซแนนซ์ คลื่นกล ฟังก์ชันคลื่น คลื่นบนเส้นเชือก คลื่นนิ่ง คลื่นเสียง และความ ดังของเสียง ความดันในของไหล แรงตึงผิว สายกระแส สมการแบร์นูลลีความหนืด และกฎของพ้อยส์ซิล ความร้อน และอุณหภูมิการเก็บความร้อน การถ่ายเทความร้อน ระบบแก๊สอุดมคติ กฎข้อที่ ๑ ของเทอร์โมไดนามิกส์ เครื่องยนต์ความร้อน และเครื่องทาความเย็น เอ็นโทรปี และกฎข้อที่ ๒ กลศาสตร์เชิงสถิติเบื้องต้นและกฎข้อที่ ๓ สนามไฟฟ้าและกฎของเกาส์ ศักย์ไฟฟ้า ตัวเก็บประจุ วงจรไฟฟ้ากระแสตรง สนามแม่เหล็ก สมการบีโอต์-ซาวารต์ กฎ ของแอมแปร์ การเหนี่ยวนำ กฎของฟาราเดย์ แรงเคลื่อนไฟฟูาเหนี่ยวนำ ตัวเหนี่ยวนำ วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ สมการ แม็กซ์เวลล์ และคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
วทฟส ๑๕๒ ฟิสิกส์ทั่วไป๒ ๓(๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน : ไม่มี
ธรรมชาติของแสง โพลาไรเซชัน หลักการสะท้อนและหักเหแสง การเกิดภาพของแสงสะท้อนและแสงหักเห เลนส์และเครื่องมือเชิงแสง การแทรกสอด การเลี้ยวเบน หลักสัมพัทธภาพพิเศษ การแปลงโลเร็นตซ์ อัตราเร็วเชิง สัมพัทธ์ โมเมนตัม และพลังงานเชิงสัมพัทธ์ ทวิภาคของคลื่นและอนุภาค กลศาสตร์คลื่นอนุภาคของชเรอดิงเงอร์ ตัวอย่างคลื่นอนุภาค กลุ่มคลื่นและหลักความไม่แน่นอนของไฮเซ็นแบร์ก หลักกลศาสตร์ควอนตัม โมเมนตัมเชิงมุม และสปิน ฟิสิกส์ควอนตัมของอะตอมและโมเลกุล ผลึกแข็งและทฤษฎีแถบพลังงาน สารกึ่งตัวน าเลเซอร์และเมเซอร์ เทคโนโลยีนาโน อิเล็กทรอนิกส์สารกึ่งตัวน า ธรรมชาติของนิวเคลียส แบบจ าลองนิวเคลียส การสลายตัว รังสี นิวเคลียร์ ปฏิกิริยานิวเคลียร์การตรวจวัดรังสีและการปูองกัน นิวเคลียร์ประยุกต์ และฟิสิกส์ของอนุภาคมูลฐาน
วศอก ๑๐๑ ปฏิบัติการวิศวกรรมพื้นฐาน ๒ (๑-๓-๓)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
กระบวนการทางวิศวกรรมการผลิตขั้นพื้นฐาน อุปกรณ์หรือเครื่องมือที่ใช้ในการดำเนินงานการปรับแต่ง ความปลอดภัยในการดำเนินงานการปรับแต่ง
วศฟฟ ๒๑๓ การวิเคราะห์วงจรไฟฟูา ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วทฟส ๑๕๒ หรือตามดุลยพินิจของผู้สอน
องค์ประกอบของวงจร วงจรตัวต้านทาน กฎของเคอร์ชอฟฟ์ การวิเคราะห์วงจรแบบปม การวิเคราะห์วงจร แบบเมช การแปลงแหล่งจ่าย การวงเคราะห์วงจรแบบหลายแหล่งจ่าย ทฤษฎีของเทวินินและนอร์ตัน คุณสมบัติของ ตัวเก็บประจุและตัวเหนี่ยวนำ วงจรไฟฟ้าอันดับหนึ่ง วงจรไฟฟ้าอันดับสอง การวิเคราะห์วงจรไฟฟ้ากระแสสลับ แผนภาพเฟสเซอร์ กำลังไฟฟ้ากระแสสลับ การแก้ตัวประกอบกำลัง ระบบไฟฟ้าสามเฟส วงจรขยายสัญญาณ ผลตอบสนองเชิงความถี่
วศฟฟ ๒๔๐ อิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๓(๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศฟฟ ๒๑๓ หรือตามดุลยพินิจของผู้สอน
อุปกรณ์สารกึ่งตัวนำกระแสแรงดันและคุณสมบัติทางความถี่ของอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ วิเคราะห์และ ออกแบบวงจร ไดโอด บีเจที มอส ซีมอส และไบซีมอส ทรานซิสเตอร์ การไบอัสวงจรขยายสัญญาณ วงจรขยาย สัญญาณด้วยทรานซิสเตอร์ วงจรขยายเชิงดำเนินการและการประยุกต์ใช้งาน หน่วยจ่ายกาลังไฟฟ้า
วศฟฟ ๒๔๑ ปฏิบัติการอิเล็กทรอนิกส์วิศวกรรม ๑ (๐-๓-๑)
วิชาที่ต้องศึกษาร่วม: วศฟฟ ๒๔๐ หรือตามดุลยพินิจของผู้สอน
การฝึกปฏิบัติการเกี่ยวกับการวิเคราะห์วงจรไฟฟ้าต่างๆตามรายวิชา ตามหัวข้อในรายวิชา วศฟฟ ๒๔๐
วศคก ๒๒๐ กลศาสตร์วิศวกรรม ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วทฟส ๑๕๑ หรือตามดุลยพินิจของผู้สอน
สถิตยศาสตร์ ระบบแรงต่าง ๆ ผลลัพธ์ สมดุล แรงเสียดทาน หลักการของงานเสมือนและเสถียรภาพ พลศาสตร์ขั้นแนะนำ
วศคพ ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๒-๒-๕)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
แนะนำหลักการคอมพิวเตอร์ ส่วนประกอบต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ ทั้งฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ การโต้ตอบ ระหว่างฮาร์ดแวร์และซอฟต์แวร์ แนวทางการประมวลผลข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (อีดีพี) แนะน าการออกแบบและการ สร้างโปรแกรมด้วยภาษาระดับสูง: ชนิดข้อมูลและนิพจน์ คำสั่งวนซ้ำและคาสั่งควบคุมแบบมีเงื่อนไข ฟังก์ชัน ตรรกะ แบบบูล โครงสร้างแถวลำดับ และโครงสร้างระเบียน
*วศคพ ๒๐๐ คณิตศาสตร์สำหรับวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐- ๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วทคณ ๑๑๕ แคลคูลัส และ วทคณ ๑๖๕ สมการอนุพันธ์เชิงสามัญ หรือตามดุลยพินิจของผู้สอน
การประยุกต์ทางด้านวิศวกรรมของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ ระบบสมการเชิงอนุพันธ์ พีชคณิตเชิงเส้น คณิตศาสตร์อนุมาน ลำดับและอนุกรมของจำนวน การกระจายอนุกรมเทย์เลอร์ของฟังก์ชันมูลฐาน ผลเฉลยแบบ อนุกรมของสมการเชิงอนุพันธ์ การแปลงลาปลาซ เวกเตอร์อินทิกรัลแคลคูลัส การอินทิเกรตเส้น การอินทิเกรต ปริมาตร พิกัดเชิงขั้ว แคลคูลัสของฟังก์ชันค่าจริงหลายตัวแปร ทฤษฎีของกรีน การอินทิเกรตพื้นที่ผิว ทฤษฎีการลู่ออกของเกาส์ ทฤษฎีของสโตกส์ การประยุกต์ใช้ทางด้านวิศวกรรม
วศคพ ๒๐๑ วิยุตคณิต ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน : ไม่มี
ตรรกศาสตร์ การใช้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ทฤษฎีเซตเบื้องต้น ความสัมพันธ์และฟังก์ชั่นลำดับและอนุกรม อุปนัยเชิงคณิตศาสตร์และการเรียกซ้ำ ทฤษฎีจำนวน การนับ ทฤษฎีความน่าจะเป็น ทฤษฎีกราฟและต้นไม้
๒. กลุ่มวิชาเฉพาะด้าน
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง)
*วศคพ ๑๐๐ แนะนำวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ๑(๐-๓-๑)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน : ไม่มี
แนะนำวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ระบบคอมพิวเตอร์ ฮาร์ดแวร์และซอฟแวร์ระบบปฏิบัติการ เทคโนโลยีโอเพ่น ซอร์ส: ลีนุกซ์ มูลฐานของระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบอินเทอร์เน็ตและเวิลด์ไวด์เว็บฝึกปฏิบัติด้วยโปรแกรม ประยุกต์ทางด้านการจัดการเอกสาร
วศคพ ๑๑๒ เทคนิคการเขียนโปรแกรม ๓(๒-๒-๕)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๑๑๑ หรือตามดุลยพินิจของผู้สอน
เทคนิคการเขียนโปรแกรมและแนวคิด เทคนิคต่างๆ ในการเขียนโปรแกรมที่มีประสิทธิภาพ การป้องกัน จุดบกพร่องของซอฟต์แวร์ การแก้จุดบกพร่อง การทดสอบและการบำรุงรักษารหัสต้นทาง ขอบข่าย/อายุขัยของตัว แปร การเรียกซ้ำ ตัวชี้ พื้นฐานโครงสร้างข้อมูล:รายการโยง ต้นไม้ฐานสอง สแต็ค คิว การกำหนดสาระสำคัญของ ข้อมูล การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี การจัดการความผิดพลาด และแนวคิดในการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ
วศคพ ๒๐๒ วิธีเชิงตัวเลขและการประยุกต์ ๓ (๓-๐-๖)
EGCO 202 Numerical Methods and Applications วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
หลักการทั่วไปของการคำนวณเชิงตัวเลข การประมาณความแม่นในการคำนวณเชิงตัวเลข รากของฟังก์ชัน พหุนามและไม่เชิงเส้น ระบบสมการพีชคณิตเชิงเส้น การประมาณค่าในช่วง การหาอนุพันธ์และการหาปริพันธ์ ผล เฉลยเชิงตัวเลขของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญ การปรับเส้นโค้งและการประมาณฟังก์ชันการประยุกต์วิธีเชิงตัวเลข สำหรับปัญหาด้านวิศวกรรม
*วศคพ ๒๐๓ วิธีการทางสถิติสำหรับการวิเคราะห์ข้อมูล ๒ (๒-๐-๔)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
เครื่องมือเพื่อช่วยในการคำนวณทางสถิติ การออกแบบการทดลองและวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลสำหรับและ นำเสนอ สถิติพรรณา ความน่าจะเป็นเบื้องต้นและการกระจายตัวแบบปกติ การประมาณค่าพารามิเตอร์ การทดสอบ สมมติฐาน วิเคราะห์ความแปรปรวน ความถดถอยและสหสัมพันธ์ของการวิเคราะห์ความถี่วิธีไม่มีพารามิเตอร์
วศคพ ๒๑๓ กระบวนทัศน์ในการเขียนโปรแกรม ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๑๑๑ หรือตามดุลยพินิจของผู้สอน
แนะนำกระบวนทัศน์ต่างๆ ในการเขียนโปรแกรมและภาษาโปรแกรม แนวคิดมูลฐานการเขียนโปรแกรม: ชนิดของข้อมูล คำสั่งโปรแกรมพื้นฐานฟังก์ชัน การจัดการหน่วยความจำการเขียนโปรแกรมเชิงวัตถุ การเขียน โปรแกรมแบบพร้อมกัน การเขียนโปรแกรมเชิงเหตุการณ์ การเขียนโปรแกรมเชิงหน้าที่
วศคพ ๒๒๑ โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน : วศคพ ๑๑๑ หรือตามดุลยพินิจของผู้สอน
การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธี แบบชนิดข้อมูลนามธรรม โครงสร้างข้อมูลเชิงเส้น:รายการโยง กองซ้อน คิว โครงสร้างข้อมูลไม่เชิงเส้น: ต้นไม้ ตารางแฮช กราฟ ขั้นตอนวิธีการเรียงลำดับและการค้นหา การเรียกซ้ำการ แบ่งแยกและเอาชนะกำหนดการพลวัต ขั้นตอนวิธีเชิงละโมบ แนะนำเอ็นพีคอมพลีต
วศคพ ๒๓๑ การออกแบบวงจรดิจิทัล ๓(๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
การออกแบบวงจรดิจิทัล ประตูสัญญาณพื้นฐาน พีชคณิตบูลีน การออกแบบวงจรตรรกะเชิงผสม (เช่น ตัว ถอดรหัส ตัวเข้ารหัส อุปกรณ์สหสัญญาณ และวงจรเปรียบเทียบ) การลดทอนทางตรรกะ ระบบจำนวน รหัสฐานสอง ฟลิปฟล็อปและเรจิสเตอร์ วงจรนับ การออกแบบวงจรประสานเวลาและไม่ประสานเวลา ตัวแปลงแอนะล็อกเป็น ดิจิทัล และตัวแปลงดิจิทัลเป็นแอนะล็อก การจัดระบบหน่วยความจำ
วศคพ ๒๓๒ ปฏิบัติการการออกแบบวงจรดิจิทัล ๑ (๐-๓-๑)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
ปฏิบัติการการออกแบบวงจรดิจิทัลตามรายวิชา วศคพ ๒๓๑ : แนะนำปฏิบัติการระบบดิจิทัล การ ดำเนินการประตูสัญญาณเบื้องต้น พีชคณิตบูลีนการออกแบบวงจรบวกและวงจรลบ วงจรเข้ารหัสและวงจร ถอดรหัส วงจรอุปกรณ์สหสัญญาณและวงจรอุปกรณ์รับแยกสัญญาณ การออกแบบวงจรเชิงลำดับ
วศคพ ๒๕๒ การเขียนโปรแกรมระบบ ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
แนวคิดเบื้องต้นของการโปรแกรมระบบ แนวคิดมูลฐานในการจัดการโพรเซส การทำงานควบคู่กันและการ สื่อสารระหว่างกัน การส่งสัญญาณ เส้นการทำงาน การประสานเวลาของเส้นการทำงาน เซมาฟอร์ และการสื่อสาร ระหว่างโพรเซส ทั้งแบบเชื่อมโยง และไร้การเชื่อมโยง
วศคพ ๓๒๑ ระบบฐานข้อมูล ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๒๒๑ โครงสร้างข้อมูลและขั้นตอนวิธี หรือตามดุลยพินิจของผู้สอน
แบบจำลองข้อมูลแบบเอนทิตี-ความสัมพันธ์ แบบจำลองข้อมูลเชิงสัมพันธ์การออกแบบฐานข้อมูลเชิงตรรกะ และเชิงกายภาพ ภาษาสอบถาม การขึ้นต่อกันของข้อมูลและการทำให้เป็นบรรทัดฐาน รายการเปลี่ยนแปลง การกู้ ความขัดข้อง การควบคุมภาวะพร้อมกัน ความมั่นคงของฐานข้อมูล ฐานข้อมูลอินเทอร์เน็ต
วศคพ ๓๓๒ ระบบฝังตัว ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน:ไม่มี
ออกแบบและสร้างต้นแบบผลิตภัณฑ์แบบฝังตัว (เช่น เครื่องช่วยงานส่วนบุคคลแบบดิจิทัล เครื่องปลายทาง รายการเปลี่ยนแปลง เครื่องคอมพิวเตอร์ควบคุมในอุตสาหกรรม) ตัวประมวลผล ชิพเซต ชนิดของบัส และอุปกรณ์ รับเข้า/ส่งออกสำหรับระบบฝังตัวไฮเอนด์ ระบบปฏิบัติการแบบฝังตัว โปรแกรมขับอุปกรณ์และการประยุกต์สำหรับ ระบบฝังตัว การปรับแต่งอุปกรณ์ที่สามารถโปรแกรมตรรกได้ (ซีพีแอลดีและเอฟพีจีเอ) ด้วยภาษาบรรยายฮาร์ดแวร์ (เอชดีแอล) เพื่อให้เหมาะสมกับการประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมในหลายด้าน
วศคพ ๓๓๓ สถาปัตยกรรมคอมพิวเตอร์ ๓(๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
ส่วนประกอบต่างๆ ของคอมพิวเตอร์ การออกแบบวงจรตรรกะ การทำงานและการออกแบบส่วนประกอบ ระดับเรจิสเตอร์ที่ใช้ในระบบคอมพิวเตอร์ การแทนข้อมูลในระบบคอมพิวเตอร์ สัญญาณนาฬิกา การออกแบบวิถี ข้อมูล การออกแบบหน่วยควบคุมโดยใช้ไมโครโปรแกรม (สถาปัตยกรรมแบบซีไอเอสซี) และแบบใช้วงจรตรรกะ (สถาปัตยกรรมแบบริสก์) การทำงานของคอมพิวเตอร์ของแต่ละสถาปัตยกรรม การเพิ่มประสิทธิภาพ ระบบสายท่อ ของคอมพิวเตอร์ ระบบหน่วยความจำหลักการและการทำงานของหน่วยความจำแคช การออกแบบระบบรับเข้า ส่งออก การสื่อสารข้อมูลแบบอนุกรมและแบบขนานหลักมูล สถาปัตยกรรมสำหรับประมวลผลแบบขนาน สถาปัตยกรรมแบบเอสไอเอสดี เอสไอเอ็มดี เอ็มไอเอสดี และเอ็มไอเอ็มดี การทนต่อความผิดพร่อง
*วศคพ ๓๓๔ ไมโครโปรเซสเซอร์และการต่อประสาน ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
แนะนำไมโครโพรเซสเซอร์ สถาปัตยกรรมไมโครโพรเซสเซอร์และชุดของคาสั่งเครื่อง วิธีการกำหนดเลขที่อยู่ ภาษาแอสเซมบลี การต่อประสานหน่วยความจำการขัดจังหวะและการเข้าถึงหน่วยความจำโดยตรง การต่อประสานหน่วยนำเข้าและส่งออก การเขียนโปรแกรมสำหรับไมโครโพรเซสเซอร์เพื่อการต่อประสานกับการสร้างโปรแกรมและ การประยุกต์
วศคพ ๓๔๑ วิศวกรรมซอฟต์แวร์ ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
วัฏจักรชีวิตของซอฟต์แวร์ ความต้องการและข้อกำหนด การพัฒนาซอฟต์แวร์ขนาดใหญ่ การจัด กำหนดการ การพัฒนา การสร้าง การทดสอบ และการบำรุงรักษาระบบซอฟต์แวร์ การวิเคราะห์และออกแบบเชิง วัตถุ การนำซอฟต์แวร์มาใช้ซ้ำ การทำเอกสารประกอบซอฟต์แวร์ การจัดการโครงการซอฟต์แวร์ กรณีศึกษา ต่างๆ ของระบบซอฟต์แวร์ในท้องตลาด
*วศคพ ๓๔๓ การออกแบบซอฟต์แวร์ ๓(๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน:ไม่มี
แนะนำกระบวนทัศน์ในการออกแบบซอฟต์แวร์ หลักการมูลฐานของการออกแบบซอฟต์แวร์ ความต้องการ ของระบบและซอฟต์แวร์ เครื่องมือออกแบบซอฟต์แวร์และโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ช่วยในการออกแบบ แบบจำลอง กระบวนการทางธุรกิจ การออกแบบประสบการณ์ผู้ใช้ สถาปัตยกรรมซอฟต์แวร์ สถาปัตยกรรมเชิงบริการ สถาปัตยกรรมแบบไมโครเซอร์วิส การจัดการโครงการซอฟร์แวร์
วศคพ ๓๕๑ ระบบปฏิบัติการ ๓(๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๒๕๒ การเขียนโปรแกรมระบบ หรือตามดุลยพินิจของผู้สอน แนวคิดร่วมสมัยของระบบปฏิบัติการสำหรับคอมพิวเตอร์ สายโยงใย การจัดกำหนดการของหน่วยประมวลผลกลาง นิยามและรายละเอียดของกระบวนการที่ท างานร่วมประสานกันการจัดการทรัพยากรระบบ การ จัดการภาวะติดตาย การจัดการและการออกแบบหน่วยความจ าหลัก การจัดการหน่วยความจำเสมือน การจัดการ หน่วยความจำช่วย ระบบแฟ้มข้อมูล ระบบป้องกันและความมั่นคง แนะนำระบบปฏิบัติการแบบกระจาย
วศคพ ๓๗๑ สัญญาณและระบบ ๓(๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
ระบบเชิงเส้นวิยุต สัญญาณวิยุต กระบวนการและทฤษฎีบทการชักตัวอย่าง สมการเชิงผลต่างเชิงเส้น ผลการ แปลงฟูเรียร์ในเวลาวิยุต (ดีทีเอฟที) ผลการแปลงฟูเรียร์แบบเร็ว (เอฟเอฟที) ผลการแปลงสัญญาณวิยุต ลาปลาซและ แซต และการแปลงผกผัน ฟังก์ชันการถ่ายโอนพัลส์ การส่งจากระนาบเอสไประนาบแซต เฟสเสถียรภาพและต่ำสุด ความเชื่อถือได้เชิงกายภาพของเอช(แซต) การออกแบบตัวกรองดิจิทัล โครงสร้างของระบบเวลาวิยุต และ กระบวนการสโทแคสติก ข้อมูลทางฮาร์ดแวร์ดีเอสพีที่ผลิตโดยบริษัทต่างๆ เช่น เท็กซัสอินสตรูเมนต์ อุปกรณ์แอนะล็อก หรือโมโตโรลา
วศคพ ๓๗๒ การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
แนะนำการสื่อสารข้อมูล ทอพอโลยีของเครือข่าย แบบจำลองของโอเอสไอและทีซีพี/ไอพี อีเทอร์เน็ตหลักมูล หลักการของลำดับชั้นกายภาพหลักการของการส่งข้อมูลและเกณฑ์วิธีการควบคุมระบบเชื่อมโยงข้อมูลการสลับ วงจรและการสลับกลุ่มข้อมูล หลักการของลำดับชั้นการขนส่งหลักการของลำดับชั้นเครือข่าย การจัดเส้นทางหลักมูล และเกณฑ์วิธีเกณฑ์วิธีของทีซีพี/ไอพีและการกำหนดเลขที่อยู่ไอพี ลำดับชั้นโปรแกรมประยุกต์และเครือข่ายไร้สาย
วศคพ ๓๙๒ สัมมนาโครงงาน๑ ๑(๐-๓-๑)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
การสัมมนาและอภิปรายหัวข้อทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ภายใต้การแนะแนวของอาจารย์ในภาควิชา แนะนำระเบียบวิธีการทำวิจัย การสร้างกรณีทดลองอย่างง่าย เพื่อนำเสนอและอภิปรายหัวข้อที่น่าสนใจในสาขา วิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วศคพ ๔๙๐ สัมมนาโครงงาน๒ ๑(๐-๓-๑)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๓๙๒
เขียนข้อเสนอโครงงานในหัวข้อที่ได้รับความเห็นชอบ เพื่อวิจัยเพิ่มเติมและทำให้เกิดผลในวิชาโครงงานรวบ ยอดความรู้ทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
วศคพ ๔๙๕ โครงงานรวบยอดความรู้ทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ๓ (๐-๙-๓)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๓๙๒
โครงงานทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ซึ่งรวบรวมความรู้ที่ได้จากการศึกษารายวิชาต่างๆ ในหลักสูตร มาพัฒนา เป็นชิ้นงาน และควบคุมโดยอาจารย์ในภาควิชา โครงงานต้องทำให้เสร็จสมบูรณ์ นักศึกษาต้องส่งรายงานฉบับ สมบูรณ์และสอบปากเปล่าเมื่อทำโครงงานเสร็จ
๓. กลุ่มวิชาเฉพาะเลือก ฝึกงาน ๑๒ หน่วยกิต / สหกิจศึกษา ๖ หน่วยกิต / พิสิฐวิธาน ๒๐ หน่วยกิต
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง)
กลุ่มวิชาเลือกด้านเครือข่ายและความมั่นคง
วศคพ ๓๗๕ เทคโนโลยีระหว่างเครือข่าย๑ ๓ (๒-๒-๕)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
ลักษณะเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติของเทคโนโลยีการจัดเส้นทางและการสลับเส้นทาง รวมถึงแบบจำลองระหว่าง เครือข่าย โพรโทคอลอินเทอร์เน็ต เทคโนโลยีการจัดเส้นทาง เทคโนโลยีการสลับ เครือข่ายเฉพาะที่เสมือน เครือข่าย บริเวณกว้าง การจัดการปริมาณการใช้ การฝึกปฏิบัติในห้องปฏิบัติการ
วศคพ ๔๗๕ เทคโนโลยีระหว่างเครือข่าย๒ ๓ (๒-๒-๕)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๓๗๕ เทคโนโลยีระหว่างเครือข่าย ๑
ลักษณะเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติของเทคโนโลยีการจัดเส้นทางและการสลับเส้นทางขั้นสูง รวมถึงการกำหนด เลขที่อยู่โพรโทคอลอินเทอร์เน็ตขั้นสูง การจัดเส้นทางขั้นสูง การจัดเส้นทางแบบแพร่สัญญาณเฉพาะกลุ่ม ไอพีรุ่น ๖ แนวคิดต้นไม้แบบทอดข้ามขั้นสูง การจัดเส้นทางระหว่างเครือข่ายเฉพาะที่เสมือนเทคโนโลยีส่วนซ้ำสำรองเกตเวย์ การเข้าถึงลูกข่ายแบบไร้สาย แนวคิดเรื่องเสียงบนไอพี และ ความมั่นคงในเครือข่ายสลับเส้นทาง การฝึกปฏิบัติใน ห้องปฏิบัติการ
วศคพ ๔๗๖ วิทยาการรหัสลับและความมั่นคงเครือข่าย ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๓๗๒ การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์
แนะนำทฤษฎีและกลวิธีพื้นฐานในวิทยาการรหัสลับ การเข้ารหัสแบบสมมาตรและอสมมาตร กลวิธีการ วิเคราะห์การเข้ารหัสและถอดรหัส ความมั่นคงในเครือข่ายคอมพิวเตอร์ การข่มขู่ความมั่นคงและภาวะเสี่ยงสูง กลไก การพิสูจน์ตัวจริง แผนการระบุตัวตน ความมั่นคงในระบบปฏิบัติการและโปรแกรมประยุกต์ ไฟร์วอลล์ ระบบตรวจหา การบุกรุก
วศคพ ๔๗๗ การทดสอบการเจาะระบบและการป้องกัน ๓ (๒-๒-๕)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๓๗๒ การสื่อสารข้อมูลและเครือข่ายคอมพิวเตอร์ กระบวนการทดสอบการเจาะระบบ การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ภาวะเสี่ยงสูงในเครือข่ายคอมพิวเตอร์
เครื่องมือเพื่อการทดสอบการเจาะระบบ จริยธรรมของกระบวนการทดสอบการเจาะระบบ การสรุปและรายงานผล การทดสอบการเจาะระบบ การวางแผนและออกแบบระบบป้องกันเพื่ออารักขาเครือข่ายคอมพิวเตอร์จากภาวะเสี่ยงสูง
วศคพ ๔๗๘ นิติวิทยาดิจิทัลขั้นแนะนำ ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
แนะนำพื้นฐานนิติวิทยาดิจิทัล การเก็บรวบรวมข้อมูลและการสืบสวนข้อมูลจากระบบปฏิบัติการเช่นวินโดวส์ และยูนิกซ์ หน่วยเก็บระบบแฟ้มข้อมูลคอมพิวเตอร์ การเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ปริมาณการใช้เครือข่าย การวิเคราะห์และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของข้อมูล เครื่องมือนิติวิทยาดิจิทัล
กลุ่มวิชาเลือกด้านการประมวลผลภาษาและข้อมูล
วศคพ ๔๐๔ ทฤษฎีการคานวณ ๓(๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๒๐๑ วิยุตคณิต
แนะนำโครงสร้างของภาษาและลักษณะเฉพาะของภาษาต่างๆ: ภาษารูปนัย ภาษาปรกติและภาษาไม่ปรกติ ไวยากรณ์ไม่พึ่งบริบทและภาษาไม่พึ่งบริบท อธิบายลักษณะเฉพาะของเครื่องสถานะแบบต่างๆ ที่ใช้ในการ ตรวจสอบความเป็นสมาชิกในภาษา: เครื่องสถานะจำกัด ตัวแปรสัญญาณ, เครื่องแปลงสถานะ เครื่องสถานะจำกัด เชิงไม่กำหนด เครื่องสถานะแบบกดลง เครื่องทัวริง ทฤษฎีการคำนวณขั้นสูง: ทฤษฎีบทของคลีน ภาษานับได้เรียกซ้ำ ปัญหาการตัดสินใจ
วศคพ ๔๒๕ การทำเหมืองข้อมูล ๓(๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
การค้นพบความรู้ในฐานข้อมูล การเตรียมข้อมูล การสร้างภาพนามธรรมข้อมูล และการแปลงข้อมูล การจัด กลุ่ม การวิเคราะห์การเชื่อมโยง การจำแนกและการจำแนกแบบรวม ตัววัดและการประเมิน คลังข้อมูล การ ประมวลผลเชิงวิเคราะห์แบบออนไลน์ (โอแล็ป) ผลกระทบของการทำเหมืองข้อมูล เทคโนโลยีปัจจุบันและแนวโน้ม การประยุกต์การทำเหมืองข้อมูล
วศคพ ๔๖๖ การจัดการข้อมูลปริมาณมาก ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
ทฤษฎี และวิธีการจัดการข้อมูลปริมาณมากการจัดเก็บข้อมูลปริมาณมาก การกระจายตัวในการจัดการข้อมูล ปริมาณมาก การวิเคราะห์ความเกี่ยวเนื่องของข้อมูล การแสดงผลของข้อมูลปริมาณมาก แนวโน้มและการประยุกต์ใช้ ข้อมูลปริมาณมาก
วศคพ ๔๖๗ การประมวลภาษาธรรมชาติและคาพูด ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
ขั้นตอนวิธีสำหรับการประมวลผลสารสนเทศภาษา และสมบัติทางการคำนวณพื้นฐานของภาษาธรรมชาติ การประมวลผลทางหน่วยค า การประมวลผลทางวากยสัมพันธ์ และการประมวลผลทางความหมายจากทัศนมิติทาง ภาษาและทัศนมิติขั้นตอนวิธี เทคนิคเชิงปริมาณสมัยใหม่ในการประมวลภาษาธรรมชาติ การใช้แบบจำลองทางสถิติ ขนาดใหญ่สำหรับระบบการได้มาและการแทน
กลุ่มวิชาเลือกด้านภาพและการมองเห็น
วศคพ ๓๐๑ เรขภาพคอมพิวเตอร์ ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๑๑๑ การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
หลักการของเรขภาพคอมพิวเตอร์ ระบบและแบบจำลองเรขภาพ การเขียนโปรแกรมเรขภาพ อุปกรณ์เรข ภาพและการควบคุม แบบจำลองของสี วัตถุเรขาคณิตและการแปลง ทรรศนะ แสงเงา ส่วนตัด และการลบพื้นผิวที่ถูก บดบัง
วศคพ ๔๘๖ การประมวลผลภาพ ๓(๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
ระบบประมวลผลภาพ การรับรู้ทางวิทัศน์และแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ของภาพ การชักตัวอย่างและ การแจงหน่วย การแปลงภาพ สังวัตนาการและสหสัมพันธ์ของผลการแปลงฟูเรียร์ การเพิ่มสมรรถนะภาพ การทำให้ ฮิสโทแกรมเท่ากัน การปรับเรียบภาพ การปรับภาพให้คม แบบจำลองภาพสาทิสสัณฐาน
วศคพ ๔๘๗ คอมพิวเตอร์วิทัศน์ ๓(๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
แนะน าการเขียนโปรแกรมสำหรับใช้ในการมองเห็นของคอมพิวเตอร์ การมองเห็นของคอมพิวเตอร์ขั้น พื้นฐาน การแปลงเรขาคณิตในสามมิติ การเกิดภาพสเตอริโอ เพอสเปกทีฟของกล้อง การปรับเทียบกล้อง แบบจำลอง การเกิดภาพจากกล้อง การซ้อนทับภาพ การแปลงเวฟเล็ท การสร้างแบบจ าลองสามมิติ การแบ่งส่วนภาพ การค้นหา ลักษณะเด่นและจับคู่ การรู้จำใบหน้า การรู้จำวัตถุ การปรับขนาดแบบรักษาข้อมูลภายในภาพ
กลุ่มวิชาเลือกด้านระบบและสัญญาณ
วศคพ ๔๐๕ เมคคาทรอนิกส์ ๓(๒-๒-๕)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน:ไม่มี
ระบบเมคคาทรอนิกส์เป็นการบูรณาการความรู้วิศวกรรมศาสตร์ด้านเครื่องกลไฟฟ้า คอมพิวเตอร์ และ ระบบควบคุม อุปกรณ์ด้านเมคคาทรอนิกส์เช่น จานบันทึกแบบแข็ง หรืออุปกรณ์อื่นๆ การปฏิบัติการหรือทำชิ้นงาน วงจรอิเล็กทรอนิกส์ย้อนกลับ การขยายกำลังสัญญาณ ตรรกะดิจิทัล การต่อประสานตัวเข้ารหัส และการ ควบคุมมอเตอร์ เซ็นเซอร์ การควบคุมแบบทันที
วศคพ ๔๖๑ ปัญญาประดิษฐ์ ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
พื้นฐานของปัญญาประดิษฐ์ การแก้ปัญหาด้วยการค้นหาการแทนความรู้ ตรรกศาสตร์อันดับที่หนึ่ง การ อนุมานในตรรกศาสตร์อันดับที่หนึ่ง การวางแผน ระบบเหตุผลโดยใช้ความน่าจะเป็น โปรล็อกขั้นแนะน าการประมวล ภาษาธรรมชาติ ขั้นตอนวิธีเชิงพันธุกรรม และเทคนิคการเรียนรู้ของเครื่อง
วศคพ ๔๖๓ การรู้จาแบบ ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
การประมวลก่อนเพื่อการรู้จำข้อมูล การแยกลักษณะเด่น การจำแนกหรือเทคนิคเชิงเส้นเพื่อการรู้จำเทคนิค อิงพารามิเตอร์และไร้พารามิเตอร์ ตัวจาแนกแบบเบส์ วิธี โครงข่ายงานระบบประสาท วิธีลูกผสมเทคนิคการเรียนรู้ การประยุกต์การรู้จำ
วศคพ ๔๖๕ เซตคลุมเครือและโครงข่ายงานระบบประสาท ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
หลักการเบื้องต้นของตรรกศาสตร์คลุมเครือ จำนวนคลุมเครือ เซตคลุมเครือ ความสัมพันธ์แบบคลุมเครือ กฎคลุมเครือและการหาเหตุผลแบบคลุมเครือ ระบบอนุมานคลุมเครือ การออกแบบระบบคลุมเครือ โครงสร้างและ ลักษณะเฉพาะของโครงข่ายงานระบบประสาทเทียมต่างๆ การเรียนรู้แบบมีผู้แนะนำและแบบไม่มีผู้แนะนำ การ จำแนกประเภท การประยุกต์ใช้เทคนิคคลุมเครือและโครงข่ายเซลประสาทในงานวิศวกรรม
วศคพ ๔๓๑ อินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อสรรพสิ่ง ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
สถาปัตยกรรมอินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อสรรพสิ่ง เทคโนโลยีการสื่อสารในอินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อสรรพสิ่ง เทคโนโลยี ที่ใช้ในอินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อสรรพสิ่ง มาตราฐานอินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อสรรพสิ่ง การนำความรู้ที่ได้นำมาสร้างระบบอินเตอร์เน็ตเชื่อมต่อสรรพสิ่งที่สามารถน าไปประยุกต์ในงานด้านต่างๆ
กลุ่มวิชาเลือกด้านการเขียนโปรแกรมประยุกต์
วศคพ ๔๒๖ สถาปัตยกรรมโปรแกรมประยุกต์บนเว็บ ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๓๒๑ ระบบฐานข้อมูล
แนวคิดหลักมูลของการพัฒนางานประยุกต์เว็บจากทัศนมิติการบริการ เทคโนโลยีภาษาเอกซ์เอ็มแอลและ เอชทีเอ็มแอล หลักการหลักมูลของสถาปัตยกรรม กระบวนการและส่วนย่อยของงานประยุกต์บนเว็บ การพัฒนางาน ประยุกต์บริการเว็บ งานประยุกต์เคลื่อนที่ เช่น ระบบสารสนเทศเชิงภูมิศาสตร์และเครือข่ายทางสังคม
วศคพ ๔๒๗ การเขียนโปรแกรมเว็บ ๓(๒-๒-๕)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๓๒๑ระบบฐานข้อมูล
แบบจำลองข้อมูลกึ่งโครงสร้างสำหรับเว็บ (เช่น เอกซ์เอ็มแอล) การจัดการข้อมูลกึ่งโครงสร้าง ภาษาสอบถาม ที่เกี่ยวข้องและระบบสอบถามสำหรับข้อมูลเว็บ กระบวนการสอบถามและการทำให้เหมาะที่สุดของข้อมูลกึ่ง โครงสร้างและข้อมูลจากแหล่งกำเนิดแบบกระจายหลายแหล่ง การบูรณาการข้อมูลในเว็บ คลังสินค้าของข้อมูลเว็บการส่งจากเครื่องบริการฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์และเชิงอ็อบเจกต์ไปเป็นข้อมูลเว็บ อภิปรายงานประยุกต์บนเว็บ รูปแบบใหม่ที่เน้นข้อมูล เช่น พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ห้องสมุดดิจิทัล และการศึกษาทางไกล ในประเด็นที่เกี่ยวกับ ฐานข้อมูลเว็บ
วศคพ ๔๒๘ การเขียนโปรแกรมอุปกรณ์เคลื่อนที่ ๓ (๒-๒-๕)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: วศคพ ๓๒๑ ระบบฐานข้อมูล
การเขียนโปรแกรมอุปกรณ์เคลื่อนที่หลักมูล แนวคิดของเทคโนโลยีอุปกรณ์เคลื่อนที่ พื้นฐานการเขียน โปรแกรมอุปกรณ์เคลื่อนที่ การออกแบบส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ การเชื่อมต่อฐานข้อมูล การควบคุมเครื่องรับรู้ ระยะไกล ระบบบริการเว็บเคลื่อนที่ พัฒนาต้นแบบสำหรับโปรแกรมประยุกต์อุปกรณ์เคลื่อนที่ด้วยบริการประกาศ
วศคพ ๔๕๑ การประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
แนวคิดพื้นฐานของการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ โครงสร้างเอกสารเชิงวัตถุหลักพื้นฐานของสถาปัตยกรรม แบบกลุ่มเมฆ การพัฒนาโปรแกรมประยุกต์ เว็บบนกลุ่มเมฆ ระบบบริการเว็บแบบกลุ่มเมฆ แบบจำลองการบริการ บนกลุ่มเทคโนโลยีเสมือนสำหรับประมวลผลแบบการกลุ่มเมฆ บริการการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
กลุ่มวิชาเลือกเฉพาะด้าน/ขั้นสูง
วศคพ ๓๘๐-๓๘๙ หัวข้อคัดสรรทางวิศวกรรมคอมพิวเตอร์(…) ๓ (๓-๐-๖)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
หัวข้อคัดสรรเกี่ยวกับเทคโนโลยีวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย โดยภาควิชาอาจเปิดสอนเอง หรืออาจเสนอ ให้ภาควิชาอื่นเปิดสอนเป็นวิชาพิเศษในแต่ละภาคการศึกษา อนึ่งต้องระบุชื่อวิชาในวงเล็บด้วย
วศคพ ๓๙๓-๓๙๙ หัวข้อพิเศษวิศวกรรมคอมพิวเตอร์…) ๓ (๒-๒-๕)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
หัวข้อพิเศษเกี่ยวกับเทคโนโลยีวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ที่ทันสมัย โดยภาควิชาอาจเปิดสอนเอง หรืออาจเสนอ ให้ภาควิชาอื่นเปิดสอนเป็นวิชาพิเศษในแต่ละภาคการศึกษา อนึ่งต้องระบุชื่อวิชาในวงเล็บด้วย
๔. กลุ่มวิชาประสบการณ์ภาคสนาม ฝึกงาน, พิสิฐวิธาน ๑ หน่วยกิต / สหกิจศึกษา ๘ หน่วยกิต
หน่วยกิต (ทฤษฎี-ปฏิบัติ-ค้นคว้าด้วยตนเอง)
วศคพ ๓๙๐ การฝึกงานทางวิศวกรรม ๑(๐-๑๖-๑)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน:ไม่มี
การฝึกปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรมหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับระบบคอมพิวเตอร์ หรือที่มีการใช้ คอมพิวเตอร์ในงานควบคุมหรืองานประมวลผล เป็นเวลาไม่น้อยกว่า ๒๔๐ ชั่วโมง ทั้งนี้นักศึกษาต้องทำรายงานเสนอ ต่อภาควิชารวมถึงรายงานผลการปฏิบัติงานจากโรงงานหรือหน่วยงานที่ฝึกปฏิบัติงาน ซึ่งการประเมินผลจะให้เกรด เป็นพอใจ (“S”) หรือไม่พอใจ (“U”)
วศคพ ๔๙๓ สหกิจศึกษา ๘ (๐-๔๐-๘)
วิชาที่ต้องศึกษาก่อน: ไม่มี
บูรณาการและดัดแปลงความรู้ที่ได้ศึกษามาทั้งหมดในชั้นเรียน เพื่อประยุกต์กับการปฏิบัติงานจริงใน สภาพแวดล้อมของสถานประกอบการ เพิ่มพูนประสบการณ์การท างานและการทำงานเป็นทีมภายใต้การดูแลของ พนักงานพี่เลี้ยงจากสถานประกอบการและอาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อเตรียมความพร้อมของนักศึกษาสู่การทำงานเมื่อ สำเร็จการศึกษา การประเมินผลจะให้เกรดเป็นพอใจ (“S”) หรือไม่พอใจ (“U”)
ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
25/25 ถนนพุทธมณฑล สาย 4 ศาลายา จ. นครปฐม 73170
ที่ตั้งภาควิชา : ตึก 3 ชั้น 2 ห้อง 6267
โทรศัพท์ (02) 889-2138 ต่อ 6251-2
โทรสาร (02) 889-2138 ต่อ 6259
จันทร์ – ศุกร์ 8.30 – 16.30
Department of Computer Engineering
Faculty of Engineering, Mahidol University
25/25 Phuttamonthon 4 Rd. Salaya Nakorn Pathom 73170
Location : No.3 Bldg, 2nd Fl, 6267 room
Tel. (662) 889-2138 ext. 6251-2
Fax. (662) 889-2138 ext. 6259
Mon – Fri 8:30A.M. – 4:30P.M.